The store will not work correctly in the case when cookies are disabled.
Blog
Tags: โรคภูมิแพ้ในเด็ก ,
โรคภูมิแพ้ ,
แมส ,
เด็ก ,
หน้ากากอนามัยเด็ก ,
หน้ากากอนามัยสำหรับเด็ก ,
หน้ากากอนามัย ,
หน้ากากป้องกันฝุ่น ,
หน้ากาก ,
ฝุ่น ,
mask ในปัจจุบันสภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงไป รอบตัวเเราต็มไปด้วยฝุ่น และมลภาวะต่างๆ มากขึ้น ทั้งหมดล้วนเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดภูมิแพ้ โดยเฉพาะวัยเด็กที่เป็นได้มากกว่าผู้ใหญ่ หากมีอาการน่าสงสัย ผู้ปกครองอย่าได้นิ่งนอนใจเป็นอันขาด จะมีข้อสังเกตอย่างไรบ้าง เรามาทำความรู้จักกัน!
โรคภูมิแพ้คืออะไร?
ภูมิแพ้เกิดจากปฏิกิริยาของภูมิคุ้มกันในร่างกายมีการตอบสนองที่มากผิดปกติต่อสารก่อภูมิแพ้ที่เข้าสู่ร่างกาย ทำให้เกิดการอักเสบเรื้อรังที่อวัยวะต่างๆ เช่น ผิวหนัง เยื่อบุจมูก เยื่อบุตา เยื่อบุทางเดินหายใจ หรือเยื่อบุทางเดินอาหาร เป็นต้น
ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภูมิแพ้ในเด็ก
- ปัจจัยทางด้านพันธุกรรม ผู้ป่วยที่มีประวัติพ่อหรือแม่เป็นโรคภูมิแพ้ มักมีโอกาสเสี่ยงเป็นร้อยละ 20-40 เลยทีเดียว
- ปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ไรฝุ่น แมลงสาบ การเลี้ยงสัตว์ที่มีขนในบ้าน ตลอดจนการได้รับมลพิษทางอากาศ เช่น ควันจากท่อไอเสียรถยนต์ ควันจากโรงงานอุตสาหกรรม ควันบุหรี่ หรือการรับประทานนมสัตว์ เช่น วัวหรือแพะ รวมทั้งนมถั่วเหลืองในช่วงอายุ 6 เดือนแรกหลังคลอด แทนที่จะเป็นนมแม่ ก็เป็นปัจจัยเสียงที่ก่อให้เกิดโรคภูม
Tags: ชุดคลุมพลาสติก ,
ชุดกาวน์ใช้แล้วทิ้ง ,
ชุดกาวน์แพทย์ ,
ชุดกาวน์หมอ ,
ชุดกาวน์พลาสติก ,
ชุดกาวน์พยาบาล ,
ชุดกาวน์ป้องกันเชื้อโรค ,
ชุดกาวน์ป้องกันสารคัดหลั่ง ,
ชุดกาวน์SMS ,
ชุดกาวน์CPE ,
ชุดกาวน์ ,
ชุดSMS ,
ชุดCPE โดยปกติแล้วเราทุกคนต่างเคยเจ็บป่วยและต้องหาคุณหมอที่โรงพยาบาล เคยสงสัยกันไหมว่าทำไมบุคคลากรทางการแพทย์เหล่านั้นจึงต้องใส่ชุดกาวน์ในการปฏิบัติงานกันด้วย แล้วชุดกาวน์ที่เราเห็นมันแตกต่างกันยังไงนะ ซึ่งปัจจุบันมีการผลิตชุดกาวน์ที่เป็นแบบใช้แล้วทิ้ง ซึ่งง่ายต่อการใช้งานมากๆ เรามาทำความรู้จักชุดกาวน์ที่ว่านี้กันเถอะ!
สาเหตุหลักที่ต้องใส่ชุดกาวน์
- เพื่อป้องกันสารเคมี หรือสารคัดหลั่งต่างๆ จากผู้ป่วยเข้าสู่ร่างกายผู้ปฏิบัติงาน
- เหตุผลด้านรูปลักษณ์ การใส่ชุดกาวน์ จะทำให้ดูสะอาด เป็นมืออาชีพ และน่าเชื่อถือนั่นเอง
ประเภทของชุดกาวน์แบบใช้แล้วทิ้ง
กรมควบคุมโรคแจ้งเตือนสถานการณ์ในประเทศไทยขณะนี้ต้องเฝ้าจับตาดูและให้ประชาชนดูแลป้องกันร่างกายจากโรคโควิด-19 ที่เพิ่มขึ้นในช่วงหน้าหนาว โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุ เด็กเล็กที่ไม่ได้ฉีดวัคซีนโควิด-19 และผู้มีโรคประจำตัว 7 โรค อันได้แก่ โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไตวายเรื้อรัง โรคหลอดเลือดสมอง โรคอ้วน โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ เนื่องจากกลุ่มนี้เป็นผู้ที่มีอาการรุนแรงของโรคมากหากติดเชื้อโควิด-19 นอกจากนี้ยังต้องติดตามสถานการณ์การระบาดของโรคติดต่อระบบทางเดินหายใจในประเทศจีนอย่างใกล้ชิด เนื่องจากมีการพบโรคปอดอักเสบในเด็ก โดยทางจีนรายงานว่าการระบาดครั้งนี้เป็นการระบาดของโรคที่พบได้บ่อยตามฤดูกาล ซึ่งไม่พบไวรัสสายพันธุ์ใหม่แต่อย่างใด
สำหรับสถานการณ์โรคโควิด-19 ในประเทศไทย ช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา ระหว่างวันที่ 20-26 พฤศจิกายน 2566 พบว่า มีรายงานผู้ติดเชื้อโควิด รวม 480 ราย เฉลี่ยวันละ 69 ราย และมีรายงานผู้เสียชีวิต 2 ราย โดยสัปดาห์ดังกล่าวมีการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ป่วยจากสัปดาห์ก่อนๆ เล็กน้อย สอดคล้องกับการคาดการณ์โรคว่าจะมีแนวโน้มพบผู้ป่วยเพิ่มข
ปลายฝนต้นหนาวเป็นช่วงที่มีอากาศค่อนข้างแปรปรวน เข้าสู่ทีไรต้องหนักใจเรื่องสุขภาพทุกที แม้จะเป็นช่วงที่มีลมเย็นมาคลายความร้อน ถูกใจหลายๆ คนก็ตาม ซึ่งสภาพอากาศที่เย็นนี้ส่งผลให้เกิดโรคสุดฮิตอย่าง “โรคปอดบวม” จากข้อมูลของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ( สสส.) ระบุพบผู้ป่วยแล้วกว่า 1.6 แสนคน เสียชีวิตกว่า 400 ราย ล่าสุดองค์การอนามัยโลกได้เปิดเผยตัวเลขว่ามีเด็กจำนวนกว่า 800,000 คนต่อปีเสียชีวิตด้วยโรคปอดบวม อันตรายแบบนี้เรามาทำความรู้จักและศึกษาวิธีป้องกันดูแลตัวเองกันเถอะ
โรคปอดบวมคืออะไร?
โรคปอดบวมเกิดจากการติดเชื้อในปอด อาจเป็นได้ทั้งเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส หรือเชื้อรา สามารถแพร่เชื้อได้ในอากาศ ติดต่อจากคนสู่คน ผ่านการไอหรือจาม
อาการและกลุ่มเสี่ยงที่ต้องระวัง
ผู้ป่วยจะมีอาการไอ เจ็บหน้าอก เหนื่อย หอบ หายใจลำบาก บางคนอาจมีอาการไข้หนาวสั่นร่วมด้วย โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 65 ปี ขึ้นไป และเด็กเล็กที่มีอายุน
โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) ช่วงหลายปีที่ผ่านมา หลายท่านคงเคยได้ยินชื่อโรคนี้กันบ่อยๆ และมักคิดว่าโรคนี้เกิดแค่ผู้สูงอายุเท่านั้น แต่อันที่จริงแล้วสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกวัย และมีแนวโน้มพบในกลุ่มคนที่อายุน้อยลง โดยเฉพาะกลุ่มวัยทำงานเพิ่มมากขึ้นด้วย
โรคหลอดเลือดสมองคืออะไร?
โรคหลอดเลือดสมอง คือภาวะที่สมองขาดเลือดหรือมีเลือดออกในสมอง ทำให้เลือดไปเลี้ยงสมองไม่ได้ เซลล์สมองจึงขาดออกซิเจน ส่งผลให้สมองตาย
ปัจจัยเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองที่ควรรู้
- ผู้ที่มีโรคประจำตัว ได้แก่ ไขมันในเลือดสูง เบาหวาน คลอเลสเตอรอลสูง ความดันโลหิตสูง ภาวะอ้วน
- ครอบครัวที่เคยมีประวัติหลอดเลือดในสมองตีบ
- รับประทานอาหารไม่มีประโยชน์
- ผู้สูงอายุ เพราะอายุที่เพิ่มขึ้นทำให้หลอดเลือดเสี่ยงตามไปด้วย
- ไม่ออกกำลังกาย
- สูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณมาก
- ความเครียด
Tags: โรคระบบทางเดินหายใจ ,
แมส ,
หน้ากากเทียบเท่าN95 ,
หน้ากากอนามัยทางการแพทย์ ,
หน้ากากอนามัย ,
หน้ากากป้องกันฝุ่น ,
หน้ากากN95 ,
ฝุ่นpm ,
ฝุ่น ,
ผ้าปิดจมูก ,
PM2.5 อากาศถือเป็นหนึ่งในความต้องการขั้นพื้นฐานทางกายภาพเพื่อความอยู่รอด องค์กรอนามัยโลก (WHO) ตั้งค่าเฉลี่ยฝุ่นละออง PM 2.5 ในอากาศ ว่าหากมีเกินกว่า 25 µg/m³ ถือเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ขณะที่ประเทศไทยกำหนดอันตรายของฝุ่น PM 2.5 อยู่ที่ 50 µg/m³ ด้วยขนาดที่เล็กมาก ทำให้ฝุ่นละอองพิษ PM2.5 สามารถถูกสูดเข้าลึกถึงทางเดินหายใจและปอด บางอนุภาคยังอาจเข้าสู่กระแสเลือดไหลเวียนไปทั่วร่างกาย ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมามากมาย
ฝุ่น PM 2.5 มาจากไหน?
- การเผาไหม้ในที่โล่ง
- ยานพาหนะการคมนาคมขนส่ง
- อุตสาหกรรมโรงงาน
- ฝุ่นละอองทั่วไปและการก่อสร้าง
- การรวมตัวของก๊าซอื่นในบรรยากาศ
ปัจจุบันเรายังไม่สามารถควบคุมให้ปริมาณมลพิษทางอากาศจากแหล่งที่มาเหล่านี้ลดลงได้ รวมถึงสภาพค
โรคติดเชื้อฮิวแมนเมตะนิวโมไวรัส (hMPV) เป็นอีกหนึ่งไวรัสที่น่ากังวลไม่น้อย เพราะก่อให้เกิดอาการในระบบทางเดินหายใจ ซึ่งไวรัสนี้อยู่ในกลุ่มเดียวกับ RSV ที่ทำให้เกิดอาการติดเชื้อในทางเดินหายใจแบบเฉียบพลัน และเป็นอีกหนึ่งสาเหตุที่ก่อให้เกิดปอดอักเสบ ซึ่งมักพบการระบาดในช่วงปลายฤดูฝนถึงต้นฤดูหนาว ส่วนใหญ่พบในกลุ่มเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี รวมถึงในผู้สูงอายุและผู้มีโรคประจำตัวก็มีโอกาสติดเชื้อนี้ได้
อาการของผู้ที่ติดเชื้อไวรัส hMPV
- มีไข้
- ปวดเมื่อยเนื้อตัว
- ไอ มีเสมหะ
- มีน้ำมูก
- เหนื่อย
- หายใจไม่สะดวก
การตรวจวินิจฉัยและรักษา
การตรวจหาเชื้อทำได้โดยวิธีการ swab ป้ายจมูกแล้วส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่นเดียวกับการตรวจหาเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ แ
เกจ์หายใจออกซิเจนเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ควบคุมแรงดันและอัตราการไหลของก๊าซออกซิเจน เหมาะสำหรับใช้ในงานผู้ป่วยที่มีภาวะขาดออกซิเจน รวมถึงการดูแลผู้ป่วยที่บ้านและโรงพยาบาล เมื่อไหร่ก็ตามที่เรามีค่าออกซิเจนน้อยกว่า 96% ควรได้รับออกซิเจนเพิ่ม มีหลักการทำงานคือ ลดความดันและควบคุมปริมาตรการไหลของออกซิเจนที่เชื่อมต่อกับถังออกซิเจน เพื่อทำให้การไหลของออกซิเจนผ่านสายออกซิเจนแคนนูล่า เข้าสู่โพรงจมูกผู้ป่วยมีความสม่ำเสมอ ซึ่งอัตราการไหลและการปรับแรงดันนั้นจะปรับตามคำแนะนำของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนในปริมาณที่เหมาะสม
คุณสมบัติของเกจ์หายใจออกซิเจน
- เกจ์หายใจออกซิเจนควรมีหน้าปัดขนาดใหญ่ อ่านง่าย ตัวเลนส์ทำมาจากวัสดุที่แข็งแรงสูง ทนต่อแรงกระแทกและแตกยาก
- ตัวเกจ์ วัสดุทำจากโลหะชุบโครเมี่ยม ช่วยให้ผลิตภัณฑ์มีความเงางาม ต้านทานการสึกหรอได้ดีและป้องกันการเสียดสีและการเกิดสนิม
- สายออกซิเจนแคนนูล่าทำมาจาก PVC เกรดทางการแพทย์
Tags: โรคชรา ,
โรคคนแก่ ,
เก้าอี้อาบน้ำแบบพนักพิง ,
เก้าอี้อาบน้ำผู้สูงอายุ ,
เก้าอี้อาบน้ำผู้ป่วย ,
เก้าอี้อาบน้ำคนแก่ ,
เก้าอี้อาบน้ำ ,
เก้าอี้ผู้สูงอายุ ,
เก้าอี้นั่งอาบน้ำ ,
อาบน้ำผู้ป่วย ,
อาบน้ำ ,
ห้องน้ำ ,
ผู้สูงอายุ ,
ผู้สูงวัย ,
ผู้ป่วย ,
คนแก่ ,
ShowerChair ,
Senior ,
Older ,
Elder เราทราบกันดีอยู่แล้วว่าพื้นที่ในบ้านที่ใช้งานเป็นประจำ ก็คือห้องน้ำ ซึ่งถือเป็นพื้นที่เสี่ยงที่เกิดอุบัติเหตุจากการลื่นล้มมากที่สุด โดยเฉพาะบริเวณอ่างล้างหน้าและที่พื้นห้องน้ำ ก่ออุบัติเหตุได้ง่าย ทำให้เกิดบาดแผลฟกช้ำ กระดูกร้าว กระดูกหัก หรือมีโอกาสลื่นล้มศีรษะฟาดพื้น จนเป็นอันตรายต่อชีวิตได้
จากสถิติการเกิดอุบัติเหตุที่เกิดภายในบ้านของผู้สูงอายุ มีตัวเลขที่น่าตกใจ คือโดยทุกปีจะมีผู้สูงอายุ ทุกๆ 1 ใน 3 รายเคยมีประสบการณ์การลื่นล้ม และ 25% ในกลุ่มนี้เคยผ่านเหตุการณ์นี้มาแล้วมากกว่า 1 ครั้ง นอกจากพื้นที่ลื่นแล้ว ยังมีสาเหตุอื่นๆ ที่ประกอบกันจนทำให้ผู้สูงอายุจำนวนมากประสบอุบัติเหตุลื่นล้มจนบาดเจ็บ โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย ทางด้านสายตา ภาวะกระดูกพรุน ข้อเสื่อม แขนขาอ่อนแรง เป็นต้น
สาเหตุที่ทำให้ผู้สูงอายุลื่นล้มในห้องน้ำ
สามารถแบ่งเป็น 3 สาเหตุหลักๆ ได้ดังนี้
- ปัญหาทางสายตา เนื่องจากอายุที่มากขึ้น การเสื่อมสภาพของร่างกายก็มากขึ้นเช่นกั
Tags: แบกของ ,
เจ็บหลัง ,
เข็มขัดพยุงหลัง ,
ออฟฟิศซินโดรม ,
ยกของหนัก ,
พนักงานออฟฟิศ ,
ผู้สูงอายุ ,
ปวดหลัง ,
ที่พยุงหลัง ,
คนแก่ ,
กระดูดสันหลัง ,
OfficeSyndrome ,
Backsupportbelt หลายท่านคงเคยมีอาการปวดหลัง บางคนปวดมาก ปวดน้อย บางคนปวดเป็นเดือนก็มี เป็นอาการที่สามารถเกิดขึ้นได้โดยทั่วไปในทุกเพศทุกวัย โดยในเด็กจะพบอาการปวดหลังได้น้อยกว่าวัยทำงาน ซึ่งสาเหตุการปวดหลังแต่ละส่วนก็แตกต่างกันออกไป
สาเหตุการปวดหลังแบบต่างๆ
- ปวดหลังส่วนบน มีสาเหตุมาจากการก้มเล่นมือถือนานๆ หรือการแบกกระเป๋าหนัก
- ปวดหลังส่วนกลาง เกิดจากการก้มยกของหนัก นอนเตียงนุ่มหรือแข็งเกินไป
- ปวดหลังส่วนล่าง มีสาเหตุจากน้ำหนักตัวเยอะเกิน ยืนหรือนั่งนานๆ
ปวดหลังแบบไหนบ่งบอกเป็นโรคอะไร
- ปวดหลังจากการยกของหนัก เกิดจากกล้ามเนื้ออักเสบ
- ปวดแนวกระดูกกลางหลัง มักเป็นอาการของหมอนรองกระดูกสันหลัง หรือเอ็นยึดระหว่างกระดูกสันหลัง